โครงการวิจัย ประจำปี ๒๕๕๖ ประกอบด้วย ๓๔ โครงการ ได้แก่ (คลิ๊กที่แต่ละโครงการเพื่ออ่านบทคัดย่อ)
  • ความหลากหลายของหอยทากบกและชนิดพันธุ์จำเพาะถิ่น บริเวณพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • (Diversity of Land Snail in the Area of Plant Genetic Conservation Project under the Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn)
  • อ. ดร. จิรศักดิ์ สุจริต
  • อ่านต่อ
  • ความหลากหลายและบทบาทของปลวกและมดในระบบนิเวศป่าเต็งรัง จังหวัดน่าน
  • (Diversity and Role of Termites and Ants in Dry Dipterocarp Ecosystem in Nan Province)
  • ผศ. ดร. ดวงแข สิทธิเจริญชัย
  • อ่านต่อ
  • ความสัมพันธ์ระหว่างสัตว์ขาปล้องในระบบนิเวศการเกษตรและพื้นที่รอบข้าง ในพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Relationship of arthropods in agro-ecosystem and adjacent area of RSPG)
  • อ. ดร. ชัชวาล ใจซื่อกุล
  • อ่านต่อ
  • ความหลากหลายทางชนิด นิเวศวิทยา การแปรผันทางพันธุกรรมและการประเมินความเป็นไปได้ในการผสมต่างสายพันธุ์ระหว่างสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกบางชนิด ณ ตำบลไหล่น่าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่านและพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Species diversity, population ecology, genetic variation and genetic assessment of possible natural hybridization among amphibian species at Lainan, Nan province and RSPG Area)
  • อ. ดร. อัมพร วิเวกแว่ว
  • อ่านต่อ
  • ความหลากหลายของค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กในพื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
    สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • (Biodiversity of Bats and Small Mammals in the RSPG Area)
  • อ. ดร. ธงชัย งามประเสริฐวงศ์
  • อ่านต่อ
  • การศึกษาเปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพของแพลงก์ตอนหน้าดินกลุ่มฟอแรมมินิเฟอร่าในระบบนิเวศทางทะเลของเกาะขาม (หมู่เกาะแสมสาร) กับเกาะขามน้อย (หมู่เกาะสีชัง) จังหวัดชลบุรี
  • (Comparative study on biodiversity of benthic plantkon, Foraminifera, in the coastal ecosystems of Kham Island and KhamNoi Island, Chonburi Province)
  • ดร. สมภพ รุ่งสุภา
  • อ่านต่อ
  • โครงสร้างประชากรและนิเวศวิทยาของค้างคาวคุณกิตติ (Craseonycteris thonglongyai) ในพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Population structure and ecology of Kitti’s hog-nosed bat (Craseonycteris thonglongyai) in the RSPG area)
  • อ. ดร. ธงชัย งามประเสริญวงศ์
  • อ่านต่อ
  • การจำแนกชนิดของโพรติสต์บางชนิดที่พบในเกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี โดยวิธีทางชีวโมเลกุล
  • (Molecular identification of species of some protists at Samaesarn Island, Chonburi Province)
    อ. ดร. ชิดชัย จันทร์ตั้งสี
  • อ่านต่อ
  • บทบาทและความสำคัญของสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกในด้านการเกษตร
  • (The role and importance of amphibian in agriculture)
  • ผศ. ดร. วิเชฎฐ์ คนซื่อ
  • อ่านต่อ
  • การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน ในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องจากพระราชดำริฯ โดยการวัดฤทธิ์การยับยั้งการสร้างแอดวานซ์ไกลเคชันเอ็นด์โปรดักส์
  • (Screening of anti-diabetic activity of medicinal plants in the Plant Genetic Conservation Project area under The Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn by measuring the inhibitory activity of advanced glycation end product formation)
  • รศ. ดร.สุรัตนา อำนวยผล
  • อ่านต่อ
  • อันตรกิริยาของพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวานในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์
    พันธุกรรมพืช อันเนื่องจากพระราชดำริฯ กับหน้าที่การทำงานของพี-ไกลโคโปรตีน
  • (Interaction between P-glycoprotein and anti-diabetic medicinal plants in the Plant Genetic Conservation Project area under The Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn)
  • ผศ. ดร. สุรีย์ เจียรณ์มงคล
  • อ่านต่อ
  • การแยกสารสำคัญจากพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านเมตาบอลึซึมของไขมัน ในพื้นที่ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องจากพระราชดำริฯ โดยการวัดฤทธิ์การยับยั้งการทำงานของเอนไซม์แพนครีเอติกไลเปส
  • (Isolation of anti-lipid metabolism substances of medicinal plants in the Plant Genetic Conservation Project area under The Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn by measuring the inhibitory activity of pancreatic lipase)
  • อ. ดร. ทักษิณา ชวนอาษา
  • อ่านต่อ
  • การใช้ประโยชน์จากพันธุกรรมพืชในการตรวจระบุเอกลักษณ์ของสมุนไพร
    สกุล Strychnos ที่ปนในตำรับยา
  • (Genetic identification of Strychnos plants in the herbal formulations)
  • รศ. ร.ต.อ.หญิง ดร. สุชาดา สุขหร่อง
  • อ่านต่อ
  • จุลินทรีย์เซลลูโลสิกเพื่อการย่อยสลายเซลลูโลส: การนำไปใช้ประโยชน์ทางเกษตร
  • (Cellulosic Microorganism For Cellulose Degradation: To Agricultural Application)
  • รศ. ดร. วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกุล
  • อ่านต่อ
  • สัณฐานวิทยาและพยาธิสภาพของปรสิตบางชนิด ในพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Morphology and histopathology of some parasites in the RSPG area)
  • รศ. ดร. มาลินี ฉัตรมงคลกุล
  • อ่านต่อ
  • ความหลากหลายของผึ้งและชันโรง และการนำมาใช้ประโยชน์ของพรอพอลิสจากรังผึ้งและชันโรงในพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Diversity of honey bee and stingless bee and utilization of propolis from their nests in the RSPG area)
  • ผศ. ดร. สุรีรัตน์ เดี่ยววาณิชย์
  • อ่านต่อ
  • การประเมินสุขภาวะและชีววิทยาการสืบพันธุ์ของสัตว์เลื้อยคลานในระบบนิเวศเกาะทะลุ
  • (Evaluation of health status and reproductive biology of reptiles in Talu island ecosystem)
  • อ. ดร. นพดล กิตนะ
  • อ่านต่อ
  • การแยกและเลี้ยง zooxanthellae สายพันธุ์ทนร้อนจากปะการังและสองฝา
  • (Isolation and culture of thermal tolerance stain of zooxanthellae from corals and marine bivalve)
  • รศ. ดร. ไทยถาวร เลิศวิทยาประสิทธิ
  • อ่านต่อ
  • ความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของทรัพยากรปะการังบริเวณเกาะทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ – 2: ฤดูกาลปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ของปะการัง
  • (Biodiversity and sustainable use of coral resources at Ko Talu, Prachuap Khiri khan – 2 : Spawning season of coral)
  • รศ. ดร. วรณพ วิยกาญจน์
  • อ่านต่อ
  • บทบาทและความสำคัญของทากเปลือย Jorunna funebris ในระบบนิเวศ – 2: ชีววิทยาการสืบพันธุ์และพัฒนาการของตัวอ่อน
  • (Important roles of the nudibranch, Jorunna funebris, in the ecosystems – 2: Reproductive biology and larval development0
  • รศ. ดร. สุชนา ชวนิชย์
  • อ่านต่อ
  • การฟื้นฟูแนวปะการังในธรรมชาติโดยใช้ตัวอ่อนปะการังที่ได้จากการเพาะขยายพันธุ์ในระบบเพาะฟัก – 2: ปัจจัยทางชีวภาพที่มีผลต่อการอนุบาลตัวอ่อนปะการังระยะหลังการปฏิสนธิและระยะหลังการลงเกาะในระบบอนุบาล
  • (Coral restoration by laboratory seeding – 2: Influence of biological factors on breeding larvae after fertilization and settlement stages)
  • รศ. ดร. วรณพ วิยกาญจน์
  • อ่านต่อ
  • ฟลักซ์ กระบวนการขนส่ง และวัฏจักรของสารอาหารพืชบริเวณแนวปะการัง หมู่เกาะแสมสาร – 2: ลักษณะทางตะกอนวิทยาของพื้นทะเลและการแพร่กระจายสารอาหารพืชที่สะสมในตะกอนดิน
  • (Fluxes, transport processes and cycling of nutrients at reefs of Mo Ko Samae San – 2: Sedimentary character of sea floor and distribution of nutrients accumulated in the sediment)
  • ผศ. ดร. เพ็ญใจ สมพงษ์ชัยกุล
  • อ่านต่อ
  • กระบวนการทางสมุทรศาสตร์ที่มีผลต่อการแพร่กระจายของสารในแนวปะการังและแหล่งหญ้าทะเล อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี – 2: พลวัตรของตะกอนบริเวณแนวปะการังและแหล่งหญ้าทะเล
  • (Oceanographic processes and the fate of material in coral reef and seagrass habitats, Sattahip, Chonburi – 2: Dynamics of sediment in reefs and seagrass beds)
  • อ. ดร. ปัทมา สิงหรักษ์
  • อ่านต่อ
  • การคัดแยกและเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กจากระบบนิเวศทางทะเลของหมู่เกาะแสมสารและเกาะสีชัง
  • Isolation and Culture of Microalgae from Marine Ecosystems of Samaesarn Islands and Sichang Island
  • รศ. ดร. อัจฉราภรณ์ เปี่ยมสมบูรณ์
  • อ่านต่อ
  • การใช้แบบจำลองเพื่อนคู่คิดเพื่อส่งเสริมศักยภาพของชุมชนท้องถิ่นในการวางแผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้และพันธุ์พืชอย่างยั่งยืนในพื้นที่ อพ.สธ.
  • (Companion modeling to enhance capacity of local communities in sustainable forest and plant resources management planning in the RSPG area)
  • อ. ดร. พงษ์ชัย ดำรงโรจน์วัฒนา
  • อ่านต่อ

งานวิจัยทั้งหมดมีลิขสิทธิ์

ผู้ละเมิดจะได้รับโทษสูงสุดตามกฎหมายกำหนด

หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม

โปรดติดต่อโครงการฯ เพื่อการอ้างอิงหรือเผยแพร่ก่อนทุกครั้ง

หน้าหลัก | ร้อยเรียงเรื่องราว | งานวิจัย | กิจกรรม